นำมาใช้เป็น접두사หน่วยคำเติมหน้าคำนาม(Prefix) หมายถึง คำทิ่ใช้เติมเข้าข้างหน้าคำอื่นแล้วทำให้คำคำนั้นมีความหมายผิดไปจากเดิม*📚* ดังนี้📍⚡⤵️⤵️⤵️⤵️
1. นำมาใช้เพื่อเพิ่มความหมายของคำว่า❤️'ย้อนกลับ', 'กลับ'หรือ 'ในทางตรงกันข้าม' เช่น
되가지다: เอากลับมา, นำกลับมา, เอาคืนมา
되넘기다: ส่งกลับ, ส่งคืนกลับ, คืนกลับ, ขายต่อ, ซื้อมาขายต่อ
되돌아가다:คืนกลับ, ย้อนกลับ, กลับคืน, นึกถึงขึ้นมาอีก, หวนนึกขึ้นมาอีก, นึกย้อนกลับคืนมา, กลับสู่สภาพเดิมอีก, กลายเป็นแบบเดิมอีก
되돌아오다: กลับมา, คืนกลับมา, หวนคืน, หวนกลับ, หวนกลับมา, ย้อนกลับคืนมา, คืนกลับมา
되팔다: ขาย, ขายของเก่า, ขายทิ้ง, ขายต่อ
되돌다: หันกลับ, ย้อนกลับ, วกกลับ
되잡다: กลับคืนมา, กลับมาเป็นเหมือนเดิม, คว้าอีกครั้ง, จับอีกครั้ง, หาทิศใหม่อีกครั้ง
*~~ *💦❤️
2. นำมาใช้เพื่อเพิ่มความหมายของคำว่า❤️'อีกครั้ง' หรือ 'ซ้ำ'
되감다: กรอ, กรอ...กลับ, ม้วน...กลับ, พัน...กลับ, หมุน...กลับ
되뇌다: พูดซ้ำ ๆ, พูดแล้วพูดอีก, พูดซ้ำซาก, พูดซ้ำแล้วซ้ำอีก, พูดซ้ำแล้วซ้ำเล่า, พูดพร่ำเพรื่อ
되돌아보다: หันหลังมอง, หันกลับมามอง, หันกลับมามองอีกครั้ง, หวนคิดถึง, หวนระลึกถึง, หวนคิด, มองกลับไป, นึกย้อนกลับไป
되돌아서다: หันกลับไปสู่, หันกลับไปทาง, หันหลังกลับไป, กลับมา, เปลี่ยนกลับมาเหมือนเดิม, กลับสู่สภาพเดิม, กลับสู่สภาพปกติ, เปลี่ยน(ใจหรือท่าที)กลับมา, ย้อนกลับ
되묻다: ถามซ้ำ, ถามใหม่, ถามอีกครั้ง, ย้อนถาม, ถามกลับ
되살리다: คืนชีพ, ทำให้ฟื้นฟู, ทำให้ฟื้นคืนมาใหม่, ทำให้เกิดใหม่, หวนคิดถึง, หวนระลึกถึง
되새기다: คิดทบทวน, ครุ่นคิด, ตรึกตรอง, ไตร่ตรอง, เคี้ยวอย่างไม่มีรสชาติ, เคี้ยวเอื้อง
되씹다: เคี้ยวซ้ำไปซ้ำมา, พูดแล้วพูดอีก, พูดซ้ำซาก, คิดทบทวน, ครุ่นคิด, ตรึกตรอง, ไตร่ตรอง
นำมาใช้เป็น접미사(ปัจจัยเติมท้ายคำ Suffixes) คือ ส่วนของคำที่อยู่ท้ายคำบ่งบอกความหมายและหน้าที่ของคำ* 📚*
ดังนี้
1. นำมาใช้เพื่อเพิ่มเข้าไปในคำเพื่อให้มีความหมายว่า❤️'กรรมวาจก' และทำให้เป็นคำกริยา
가결되다: ได้รับการผ่าน, ถูกเห็นพ้อง, ถูกเห็นชอบ, ถูกเห็นด้วย, ได้รับการยินยอม, ถูกอนุมัติ, ได้รับการอนุญาต
낙오되다: ถูกรั้งท้าย, ทำให้อยู่ข้างหลัง, ทำให้ตกยุค, ทำให้สูญสิ้น, ทำให้รั้งท้าย, ทำให้อยู่ข้างหลัง
당첨되다: ได้รับรางวัล, ถูกรางวัล
마련되다: ถูกเตรียม, ถูกตระเตรียม, ถูกเตรียมการ, ถูกวางแผน, มี...พร้อม, ถูกเตรียม, ถูกเตรียมไว้
매각되다: ถูกขาย, ถูกขายทิ้ง
반복되다: ซ้ำ, ซ้ำ ๆ, ทำให้เกิดขึ้นซ้ำ ๆ
생각되다: ทำให้คิด, ทำให้ครุ่นคิด, ถูกคิด
악화되다: เสื่อมลง, แย่ลง, ตกต่ำลง, ด้อยลง, เลวลง, เสื่อมสภาพ, ร้ายแรงยิ่งขึ้น, รุนแรงขึ้น, ทรุดลง, มีอาการกำเริบ, มีอาการแย่ลง, มีอาการเลวลง
잘못되다: ผิด, ผิดพลาด, เกิดอุบัติเหตุ, ผิดพลาด
첨가되다: ถูกผนวก, ถูกเพิ่ม, ถูกเพิ่มเติม
파악되다: ถูกเข้าใจอย่างลึกซึ้ง, ถูกเข้าใจอย่างถ่องแท้, ถูกเข้าใจอย่างทะลุปรุโปร่ง
포함되다: ถูกรวม, ถูกรวมถึง, ถูกรวมทั้ง, ถูกครอบคลุม
확보되다: ถูกรับประกัน, ทำให้มั่นใจ, ทำให้น่าเชื่อถือ
2. ปัจจัยที่ใช้ทำให้เป็นคำคุณศัพท์
거짓되다: โกหก, เท็จ, ไม่จริง
못되다: เลว, ไม่ดี, ชั่วร้าย, ไม่ดีเท่าที่ควร
안되다: ไม่ได้, ไม่บรรลุผล, ล้มเหลว, ไม่ได้ดังใจ, ทำไม่ได้
오래되다: เก่า, เก่าแก่, ยาว, ยาวนาน
참되다: จริง, ซื่อสัตย์, จริงใจ
편벽되다: ลำเอียง, ไม่เป็นธรรม, เอนเอียง, อคติ
호되다: ร้ายแรง, รุนแรง, สาหัส, ร้ายกาจ, โหดเหี้ยม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น